วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2561

4.4 นักออกแบบเสื้อผ้าแฟชัน (Fashion - Designer)

4. นักออกแบบเสือผ้าแฟชั้น (Fashion - Designer)


ลักษณะของงานที่ทำ
     ผู้ประกอบอาชีพนักออกแบบเสือผ้าแฟชัน จะมีหน้าที่คล้ายกับนักออกแบบเครื่องประดับหรือ
นักออกแบบเครื่องเรือน โดยมีหน้าที่ วิเคราะห์ ศึกษาวัสดุที่นำมาออกแบบสิงทอ ลายผ้า และเนือวัสดุ เพื่อตัด
เย็บ และวิธีการตัดเย็บ ควบคุมการตัดเย็บให้เป็น ไปตามแบบทีออกไว้และสามารถให้คำแนะนำในเรืองการ
แก้ไขข้อบกพร่องของรูปร่างแต่ละบุคคลโดยมีพื้นฐานความเข้าใจในศิลปะการแต่งกายของไทยโบราณและการ
แต่งกายแบบตะวันตกยุคต่างๆ ในการออกแบบ ตลอดจนในขันตอนการผลิตสามารถนำเทคนิคทางเทคโนโลยี
ี่มีต่อการสร้างงานศิลป์ มาประยุกต์ใช้โดยจะมีขันตอนการทำงานออกแบบให้ผู้ว่าจ้าง ดังนี
1. ต้องรวบรวมความคิดข้อมูล ที่เป็นสัดส่วนจากลูกค้าหรือผู้ว่าจ้าง
2. ศึกษารูปแบบงานที่มีอยู่ถ้าสามารถนำกลับมาใช้ใหม่หรือดัดแปลงเพื่อลดระยะเวลาการทำงานและ
ต้นทุนการผลิต ในเวลาเดียวกัน ต้องทำการค้นคว้าวิจัยด้วย
3. ทำการร่างแบบคร่าวๆ โดยคุมให้อยู่ในแนวความคิดดังกล่าวให้ ได้ตามความต้องการ
4. นำภาพที่ร่าง แล้วให้ผู้ว่าจ้างพิจารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลิตรวมทังการใช้ วัตถุดิบ
และประเมินราคา
5. นำภาพร่างที่ผ่านการพิจารณาและแก้ไขแล้วมาสร้างแบบ (Pattern) วิธีที่จะต้องตัดเย็บใน รายละเอียด
ปัก กุ๊น เดินลาย หรืออัดพลีดแล้วนำมาลงสีตามจริง เขียนภาพและอธิบายวิธีการทำให้ละเอียดและชัดเจนที่สุด
เท่าที่สามารถจะทำได้เพื่อให้ช่างทำตามแบบได้
6. ส่งแบบหรือชุดทีตัดเนาไว้ให้ฝ่ายบริหารและลูกค้า หรือผู้ว่าจ้าง พิจารณาทดลองใส่เพือแก้ไข
ข้อบกพร่องขันสุดท้าย
7. นำแบบที่ผู้ว่าจ้างเห็นชอบทำงานประสานกับช่างตัดเย็บ ช่างปัก เพื่อให้ได้ผลงานตามที่ลูกค้าต้องการ

สภาพการจ้างงาน
     สำหรับนักออกแบบเสือผ้าแฟชั้น ที่มีความสามารถและผลงานเมื่อเริมทำงานกับบริษัทผลิตและ
ออกแบบเสือผ้าอาจได้อัตราค่าจ้างเป็นเงินเดือนสำหรับวุฒิการศึกษาระดับประโยควิชาชีพและประโยควิชาชีพ
ชันสูงหรือเทียบเท่า อาจได้รับอัตราค่าจ้างขันต้นเป็นเงินเดือนประมาณ 8,000 -10,000 บาท ส่วนผู้สำเร็จ
การศึกษาระดับปริญญาตรี จะได้รับเงินประมาณ 9,000 - 10,000 บาท หรืออาจมากกว่าขึนอยู่กับฝีมือการ
ออกแบบและประสบการณ์ของนักออกแบบแต่ละคน มีสวัสดิการ โบนัสและสิทธิพิเศษอื่นๆ ขึนอยู่กับผล
ประกอบการของเจ้าของกิจการส่วนมากนักออกแบบเสือผ้าหรือแฟชั้น จะมีร้านหรือใช้บ้านเป็นร้านรับออกแบบตัดเสือผ้าเป็นของตนเองเป็นส่วนใหญ่เนืองจากเป็นอาชีพอิสระทีมีรายได้ดีสำหรับนักออกแบบประจำห้องเสือหรือร้านเสือใหญ่ๆ หรือโรงเรียนสอนตัดเสือที่มีผลงานแสดงเป็นประจำนันเป็นผู้ที่มีประสบการณ์สูงและต้องมีผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการแสดงผลงานและคอลเล็คชั้น ของตนเอง

สภาพการทำงาน
     ผู้ประกอบการนักออกแบบเสือผ้าแฟชั้น ในสถานที่ประกอบการผลิตเสือผ้าสำเร็จรูปจะปฏิบัติหน้าที่
เหมือนในสำนักสร้างสรรค์ทัวไปทีค่อนข้างเป็นสัดส่วน มีอุปกรณ์ เครืองใช้ในการออกแบบ เช่น โต๊ะเขียนแบบ
หุ่นลองเสือขนาดต่างๆ ตามที่ตัดเย็บ ผ้า กระดาษสร้างแพทเทิร์นและสีสำหรับลงสี เพื่อให้ภาพออกแบบเหมือนจริงอาจมีเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและให้สีได้เช่นกันหรือสแกนภาพที่วาดแล้วลงในคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้การนำเสนอต่อลูก ค้าสมบูรณ์ยิ่งขึ้นในกรณีผลิตเสือผ้าสำเร็จรูปอาจมีผู้ช่วยทำงานในการสร้างแบบ(Pattern)

คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
     ผู้สนใจในอาชีพนักออกแบบเสือผ้าแฟชั้นควรมีคุณสมบัติทั่ว ๆ ไปดังนี
1. มีความคิดสร้างสรรค์ มีความชอบและรักงานด้านออกแบบ มีมุมมองเรืองของศิลปะรักความสวยงาม
อาจมีพืนฐานทางด้านศิลปะบ้าง
2. มีความกระตือรือร้นช่างสังเกตว่ามีความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง กล้าคิดกล้าทำ กล้าที่จะถ่ายทอด
3. มีความสามารถในการถ่ายทอดความคิด หรือแนวคิดให้ผู้อื่นฟังได้

ผู้ที่จะประกอบอาชีพนักออกแบบเสือผ้าแฟชั้นควรมีการเตรียมความพร้อมในด้านต่อไปนี้ คือ
     ผู้ที่มีคุณสมบัติขันต้นดังกล่าว สามารถเข้ารับการอบรมหลักสูตรระยะสันในการออกแบบตัดเย็บเสือผ้า
ได้ที่โรงเรียนหรือสถาบันการออกแบบตัดเย็บเสือผ้าที่มีชื่อเสียงทั่วไป ซึงเปิดรับผู้สนใจเข้าเรียนโดยไม่จำกัด
วุฒิการศึกษาเพราะการออกแบบเสือผ้าขึนอยู่กับความริเริมสร้างสรรค์ประสบการณ์และการฝึกหัดสำหรับ
ผู้สำเร็จชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ต้องการศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาตรี นอกจากโรงเรียนหรือวิทยาลัย
สายวิชาชีพแล้วยังสามารถสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาโดยมีคณะศิลปกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เปิดสาขาวิชาการ ออกแบบพัสตราภรณ์ผู้ที่เข้ารับการศึกษาในสาขาวิชาทางด้านนีจะได้รับความรู้ในเรื่องของความรู้พื้น ฐานเกี่ยวกับการพัฒนาสิงทอและเครื่องแต่งกายของไทย ตะวันออก และตะวันตก เพื่อสืบทอดมรดกและศิลปะสิ่งทอของไทยในท้องถิ่น ต่างๆนอกจากนี้ ยังมีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ คณะคหกรรมศาสตร์สาขาผ้า และเครื่องแต่งกาย ธุรกิจเสือผ้า ฯลฯ

โอกาสในการมีงานทำ
     ผู้ที่สำเร็จการศึกษาแล้วสามารถนำความรู้ซึงเป็นที่ต้องการของตลาดในยุคปัจจุบัน คือ สามารถ
ออกแบบสิงทอสำหรับอุตสาหกรรมระดับต่างๆ ได้ มีความรู้ในเรืองการบริหารการตลาด และการใช้เทคโนโลยี
ี่จำเป็นต่ออุตสาหกรรมสิงทอและเสือผ้าสำเร็จรูปในวงการแฟชั้น ในประเทศไทยยังไม่สามารถเป็นศูนย์กลางของการออกแบบแฟชันได้แต่กลับเป็นศูนย์กลางของวัตถุดิบอย่างเช่นผ้าไหมและการผลิตเสือผ้าเพื่อการส่งออกภายใต้ ยี่ห้อสินค้าต่างประเทศและเสือผ้าสำเร็จรูป เพราะมีค่าแรงราคาถูก อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาในวงการออกแบบเสือ ผ้าไทยถือว่ามีความสำเร็จในระดับหนึ่งที่ การผลิตเสื่อผ้าสำเร็จรูปภายใต้ยี่ห้อไทยได้มีการส่งออกไปขายในต่างประเทศบ้างแล้ว เช่น Fly Now หรือในเรื่องของการสนับสนุนการออกแบบลายผ้าไหมที่มีลายเป็นเอกลักษณ์และการให้สีตามทที่ลูกค้า ในต่างประเทศต้องการ และสามารถส่งออกได้นักออกแบบแฟชั้น ในต่างประเทศหลายสถาบันต่างก็ให้ความสนใจแนวการแต่งกาย วัฒนธรรมและการใช้ชีวิตอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวเอเชียมากขึน ดังนันนักออกแบบแฟชั้น ไทยควรหันมาสนใจ วัตถุดิบในประเทศและคิดสร้างสรรค์งานที่เป็นเอกลักษณ์และโดดเด่น เพราะแรงงานและวัตถุดิบในประเทศยังมีราคาถูกตลาดสิงทอไทยในต่างประเทศ เช่น เสือผ้าถักสำเร็จรูป เสือผ้าทอสำเร็จรูปยังมีศักยภาพในการส่งออกสูง
นอกจากนีรัฐบาลและแนวโน้มของคนไทยกำลังอยู่ในระหว่างนิยมเลือกใช้สินค้าไทยโดยเฉพาะเสือผ้าสำเร็จรูปและผลิตภัณฑ์เครืองนุ่งห่มทีได้มาตรฐานการส่งออกนับเป็นโอกาสอันดีทีนักออกแบบแฟชันสามารถสร้างสรรค์งานได้เต็มทีหรือมีแนวคิดรูปแบบการสร้างสรรค์งานใหม่ หรือแนวโน้มใหม่ทีมีเอกลักษณ์โดดเด่นในการใช้วัสดุในท้องถิ่น มาประยุกต์ใช้ ขยายแหล่งวัตถุดิบเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพยายามให้ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยต่ำมากที่สุด เพื่อคงต้นทุนการผลิตเสือผ้าสำเร็จรูปของไทยไว้เผชิญกับการเปิดเสรีสิงทอในปี 2548 เพราะเวลานันผู้นำด้านการตลาด แฟชันและเทคโนโลยีการผลิตเท่านันที่สามารถจะครองตลาดสิงทอได้ในต่างประเทศหรือแม้แต่ตลาดเสือผ้าบริเวณชายแดนไทยที่คู่แข่งขันสามารถนำเสือผ้าเข้ามาตีตลาดไทยได้นักออกแบบแฟชั้น จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะต้องรักษาฐานตลาดของไทยไว้ทั้งในเชิงรุกในการผลิต สร้างเครือข่ายทังระบบข้อมูล ข่าวสาร และเครือข่ายจำหน่ายสินค้า

โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ
     ปัจจัยที่ทำให้ผู้ที่ประกอบอาชีพนักออกแบบแฟชั้น นักออกแบบเสือผ้า (Fashion-Designer) ประสบ
ความสำเร็จและก้าวหน้าในอาชีพก็คือการคงไว้ซึงการเป็นนักออกแบบเสือผ้าหรือแฟชั้นดีไซเนอร์ไว้ ซึงต้องใช้
โอกาสเวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิตและการแสดงผลงานที่มีต้นทุนต่ำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
เต็มศักยภาพนักออกแบบแฟชั้น ไม่ควรย้ำ อยู่กับที่ควรมีความคิดเชิงรุกมากกว่ารับเพียงคำสั่ง จากลูกค้า ควรศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพและควรสร้างโอกาสให้ตนเอง เช่น การศึกษาภาษาต่างประเทศเพิ่มเติมศึกษาด้านการตลาด ความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายลูกค้าใหม่ เสาะหาแหล่งตลาดวัตถุดิบเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทีครบวงจร สร้างแนวโน้มแฟชัน ศึกษารูปแบบของสินค้าจากต่างประเทศ และข้อกีดกันทางการค้าซึงเป็นปัจจัยในความก้าวหน้าทันโลก และยืนอยู่ในอาชีพได้นานและอาจสร้างผลงานที่คนไทยภูมิใจหันมาใส่เสือผ้าที่ผลิตโดยนักออกแบบเสือผ้าไทยกันทั่ว ประเทศ

อาชีพทีเกียวเนือง
ครูอาจารย์ในวิชาที่เกี่ยวข้อง เจ้าของร้านหรือห้องเสือ เจ้าของโรงเรียนสอนออกแบบตัดเย็บเสือผ้า
นักออกแบบเครืองประดับ

กิจกรรม
1. ให้ผู้เรียนเขียนอธิบายลักษณะอาชีพด้านการออกแบบ ตกแต่งที่อยู่อาศัย ออกแบบเครื่องเรือน และ
ออกแบบแฟชั้น ตามที่ผู้เรียนเข้าใจ
2. ให้ผู้เรียนอธิบายถึงคุณสมบัติของผู้ที่จะประกอบอาชีพด้านการออกแบบตกแต่งที่อยู่อาศัย
ออกแบบเครื่องเรือน และออกแบบแฟชั้น ตามที่ผู้เรียนเข้าใจ

นำคำอธิบายในข้อ 1 และ ข้อ 2 เข้าร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นในกลุ่มการเรียนของผู้เรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น